วันจันทร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559


การบันทึกครั้งที่ 17
วันอังคารที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ.2559 
เนื้อหาที่เรียน  ความรู้ที่ได้รับ
กิจกรรมการเรียนการสอนวันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาออกมานำเสนอวิธีการสอนของกลุ่มตนเองได้แก่ กลุ่ม หน่วยอากาศ , หน่วยยานพาหนะ , หน่วยดอกไม้ ที่ยังสอนไม่เสร็จเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา


วันอังคาร หน่วยอากาศ (คุณสมบัติของอากาศ)
ขั้นนำ  คือ  ร้องเพลง ลมพัด
ขั้นสอน  คือ  ทดลองใช้มือโดยการพัดเพื่อให้เกิดลม




วันพุธ หน่วยยานพาหนะ (ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเคลื่อนที่)
ขั้นนำ   คือ  ตั้งประเด็นปัญหา
ขั้นสอน  คือ  ให้เด็กๆแยก พาหนะ ว่าใช้อะไรในการเคลื่อนที่







วันศุกร์  หน่วย ดอกไม้  ( การแปรรูปดอกไม้ )
ขั้นนำ   คือ  เล่านิทาน
ขั้นสอน  คือ  ให้เด็กๆบีบดอกไม้ที่ครูเตรียมมาว่าเป็นสีอะไรเพื่อจะนำมาเป็นสีผสมอาหาร






คำศัพท์ 
  • Teaching plan = แผนการสอน
  • objective = วัตถุประสงค์
  • integration = บูรณาการ
  • Learning activities = กิจกรรมการเรียนรู้
  • significant experience = ประสบการณ์สำคัญ


ทักษะที่ได้รับ
  • การฟัง
  • การทำงานร่วมกับผู้อื่น
  • การคิด
การนำมาประยุกต์ใช้
  • เด็กสามารถทำและเรียนรู้ได้ด้วยตนเองและสามารถนำไป ต่อยอดเป็นความรู้ใหม่ได้
บรรยากาศในห้องเรียน
  • โต๊ะ เก้าอี้เพียงพอต่อนักศึกษา สะอาดเรียบร้อย อุณหภูมิในห้องพอดี
การจัดการเรียนการสอน
  • มีการเตรียมการสอนอย่างดี ให้นักศึกษาได้คิดวิเคราะห์ 

ประเมินตนเอง
  • ตั้งใจฟังเวลาอาจารย์สอนและร่วมทำกิจกรรมอย่างเต็มที่                     
ประเมินเพื่อน
  • มีความตั้งใจและให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม ไม่คุยกัน ช่วยกันตอบคำถาม            
ประเมินอาจารย์
  • แต่งกายสุภาพ พูดเสียงดังฟังชัดเจน

การบันทึกครั้งที่ 16
วันอังคารที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ.2559 
เนื้อหาที่เรียน  ความรู้ที่ได้รับ

กิจกรรมการเรียนการสอนวันนี้ อาจารย์พูดถึงการเรียนการสอนแบบการบรูณาการ STEM คือการทำคลิปวิดีโอ ขวดน้ำนักขนของ ที่ลงYoutube และอาจารย์ให้โจทย์มาว่าของเล่นที่แต่ละกลุ่มประดิษฐ์ขึ้นมานั้นสามารถเชื่อมโยงกับหน่วยการเรียนรู้อะไรบ้างและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร เช่น ทำขวดน้ำนักขนของเพื่อส่งอาหารไปให้สัตว์ที่อยู่ในป่าลึก



ขวดน้ำนักขนของ
วิธีการสอน มีดังนี้
1. สังเกตอุปกรณ์ อุปกรณ์เหล่านี้มีอะไรบ้าง
2.ตั้งประเด็นปัญหา (ถ้าเราเข้าไปในป่าทึบไม่ได้เราจะส่งอาหารให้สัตว์ด้วยวิธีการไหนได้บ้าง)
3.เข้าสู่เนื้อหาที่เตรียมมาโดยการเปิด Youtube ขวดน้ำนักขนของ ให้เด็กดู
- ดูอุปกรณ์ (ทบทวนอุปกรณ์)
- ดูขั้นตอนในการทำ (ทบทวนขั้นตอน)
- สาธิตการทำ
- ให้เด็กออกมาหยิบอุปกรณ์ (โดยให้หัวหน้ากลุ่มออกมาหยิบ)
- ลงมือทำ
4. ครูตั้งสมมติฐานการเล่นจากสิ่งที่ประดิษฐ์
- เด็ก ๆ คิดว่าจะเกิดอะไรขึ้น
- ทดลองเล่นของตนเอง ถ้าใครไปไกลแสดงว่ามีประสิทธิภาพ
5. สรุปหลักการทางวิทยาศาสตร์ของสิ่งที่ประดิษฐ์



คำศัพท์ 
  • Test = การทดลอง
  • Technology = เทคโนโลยี
  • integration = บูรณาการ
  • Learning activities = กิจกรรมการเรียนรู้
  • significant experience = ประสบการณ์สำคัญ



ทักษะที่ได้รับ
  • การฟัง
  • การทำงานร่วมกับผู้อื่น
  • การคิด
การนำมาประยุกต์ใช้
  • เด็กสามารถทำและเรียนรู้ได้ด้วยตนเองและสามารถนำไป ต่อยอดเป็นความรู้ใหม่ได้
บรรยากาศในห้องเรียน
  • โต๊ะ เก้าอี้เพียงพอต่อนักศึกษา สะอาดเรียบร้อย อุณหภูมิในห้องพอดี
การจัดการเรียนการสอน
  • มีการเตรียมการสอนอย่างดี ให้นักศึกษาได้คิดวิเคราะห์ 

ประเมินตนเอง
  • ตั้งใจฟังเวลาอาจารย์สอนและร่วมทำกิจกรรมอย่างเต็มที่                     
ประเมินเพื่อน
  • มีความตั้งใจและให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม ไม่คุยกัน ช่วยกันตอบคำถาม            
ประเมินอาจารย์
  • แต่งกายสุภาพ พูดเสียงดังฟังชัดเจน

วันศุกร์ที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559


การบันทึกครั้งที่ 15
วันอังคารที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ.2559 
เนื้อหาที่เรียน  ความรู้ที่ได้รับ
กิจกรรมการเรียนการสอนวันนี้ อาจารย์ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มนำเสนอการสอนตามแบบของกลุ่มตนเอง

วันจันทร์ หน่วยผลไม้ (ชนิดของผลไม้)
ขั้นนำ คือ คำคล้องจองผลไม้ ซึ่งแสดงให้เด็กเห็นว่าผลไม้นั้นมีมากมากหลากหลายชนิด
ขั้นสอน คือ นำผลไม้ของจริงมาให้เด็กสังเกตว่าผลไม้แต่ละชนิดมีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร ซึ่งสามารถบรูณาการวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ได้  โดยการสังเกตและจำแนกหมวดหมู่ของผลไม้ว่าเป็นผลรวมหรือผลเดี่ยว (เกณฑ์ที่ใช้คือผลรวม ที่เหลือคือไม่ใช่ผลรวม)





 วันอังคาร หน่วยไข่ (ลักษณะของไข่)
ขั้นนำ คือ เกมต่อจิ๊กซอว์เป็นรูปไข่
ขั้นสอน คือ ให้เด็กๆสังเกตลักษณะของไข่แต่ละชนิดและนำมาเปรียบเทียบกันว่าเหมือนหรือแตกต่างกัน
และให้เด็กรู้จักส่วนประกอบของไข่และนำมาเขียนลงตารางวิเคราะห์












วันพุธ หน่วยต้นไม้ (ปัจจัยการเจริญเติบโตของต้นไม้)
ขั้นนำ คือ คำคล้องจองต้นไม้
ขั้นสอน คือ การปลูกต้นถั่วงอก ให้เด็กลงมือทำด้วยตนเองและสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น








วันพฤหัสบดี หน่วยปลา (คุ้กกิ้งปลาทอดกรอบ)
กลุ่มนี้จะแตกต่างจากกลุ่มอื่นเพราะเป็นกิจกรรมคุ้กกิ้งเป็นกิจกรรมที่ให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติในการเข้าฐานแต่ละฐาน โดยในแต่ละฐานจะมีกิจกรรมให้เด็กทำไม่ซ้ำกัน โดยให้เด็กวนทำจนครบ เพื่อให้เด็กได้มีส่วนร่วมกับทุกขั้นตอน
ฐานที่ 1 เป็นการตัดกระดาษเป็นรูปวงกลมตามแบบ
ฐานที่ 2 เป็นการหั่นเนื้อปลาเป็น 2 ส่วน
ฐานที่ 3 เป็นการนำเนื้อปลาที่หั่นแล้วไปชุบแป้ง
ฐานที่ 4 เป็นการทอดปลา (ฐานนี้เด็กจะได้บรูณาการวิทยาศาสตร์โดยการสังเกตการเปลี่ยนแปลงของเนื้อปลา)

















คำศัพท์ 
  • Teaching plan = แผนการสอน
  • objective = วัตถุประสงค์
  • integration = บูรณาการ
  • Learning activities = กิจกรรมการเรียนรู้
  • significant experience = ประสบการณ์สำคัญ


ทักษะที่ได้รับ
  • การฟัง
  • การทำงานร่วมกับผู้อื่น
  • การคิด
การนำมาประยุกต์ใช้
  • เด็กสามารถทำและเรียนรู้ได้ด้วยตนเองและสามารถนำไป ต่อยอดเป็นความรู้ใหม่ได้
บรรยากาศในห้องเรียน
  • โต๊ะ เก้าอี้เพียงพอต่อนักศึกษา สะอาดเรียบร้อย อุณหภูมิในห้องพอดี
การจัดการเรียนการสอน
  • มีการเตรียมการสอนอย่างดี ให้นักศึกษาได้คิดวิเคราะห์ 

ประเมินตนเอง
  • ตั้งใจฟังเวลาอาจารย์สอนและร่วมทำกิจกรรมอย่างเต็มที่                     
ประเมินเพื่อน
  • มีความตั้งใจและให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม ไม่คุยกัน ช่วยกันตอบคำถาม            
ประเมินอาจารย์
  • แต่งกายสุภาพ พูดเสียงดังฟังชัดเจน